ใครๆ ก็พูดถึง อาเซียน!!
น้อย
เพิ่มเติม
- จำนวนโพสต์: 35
- ขอบคุณที่รับ: 24
10 ปี 2 เดือน ที่ผ่านมา #27
โดย ID 998
COM_KUNENA_MESSAGE_CREATED_NEW
ASEAN (Association of South East Asian Nations)
ประชาคมอาเซียน หรือเรียกว่า สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และ บรูไน
ประชาคมอาเซียน หรือเรียกว่า สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นการรวมตัวกันของประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และ บรูไน
สมาชิกต่อไปนี้บอกขอบคุณ: ID 1000, Suphan Click !!
น้อย
เพิ่มเติม
- จำนวนโพสต์: 35
- ขอบคุณที่รับ: 24
10 ปี 2 เดือน ที่ผ่านมา #28
โดย ID 998
COM_KUNENA_MESSAGE_REPLIED_NEW
มารู้จักสกุลเงินในอาเซียนกันครับ
สกุลเงินในอาเซียนและอัตราแลกเปลี่ยนเป็นเงินบาท (โดยประมาณ)
ประเทศบรูไน เรียกว่า ดอลล่าร์บรูไน อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์บรูไน เท่ากับ 25 บาท
ประเทศกัมพูชา เรียกว่า เรียล อัตราแลกเปลี่ยน 1 บาท เท่ากับ 130 เรียล
ประเทศอินโดนีเซีย เรียกว่า รูเปียห์ อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ เท่ากับ 3 บาท
ประเทศลาว เรียกว่า กีบ อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 กีบ เท่ากับ 4 บาท
ประเทศมาเลเซีย เรียกว่า ริงกิด อัตราแลกเปลี่ยน 1 ริงกิด เท่ากับ 10 บาท
ประเทศพม่า เรียกว่า จ๊าด อัตราแลกเปลี่ยน 25 จ๊าด เท่ากับ 1 บาท
ประเทศฟิลิปปินส์ เรียกว่า เปโซ อัตราแลกเปลี่ยน 1.50 เปโซ เท่ากับ 1 บาท
ประเทศสิงคโปร์ เรียกว่า ดอลล่าร์สิงคโปร์ อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์ เท่ากับ 25 บาท
ประเทศเวียดนาม เรียกว่า ด่ง อัตราแลกเปลี่ยน 650 ด่ง เท่ากับ 1 บาท
ประเทศไทย เรียกว่า บาท อัตราแลกเปลี่ยน 1 บาท เท่ากับ 1 บาม
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนโดยประมาณการ และอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
สกุลเงินในอาเซียนและอัตราแลกเปลี่ยนเป็นเงินบาท (โดยประมาณ)
ประเทศบรูไน เรียกว่า ดอลล่าร์บรูไน อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์บรูไน เท่ากับ 25 บาท
ประเทศกัมพูชา เรียกว่า เรียล อัตราแลกเปลี่ยน 1 บาท เท่ากับ 130 เรียล
ประเทศอินโดนีเซีย เรียกว่า รูเปียห์ อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ เท่ากับ 3 บาท
ประเทศลาว เรียกว่า กีบ อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 กีบ เท่ากับ 4 บาท
ประเทศมาเลเซีย เรียกว่า ริงกิด อัตราแลกเปลี่ยน 1 ริงกิด เท่ากับ 10 บาท
ประเทศพม่า เรียกว่า จ๊าด อัตราแลกเปลี่ยน 25 จ๊าด เท่ากับ 1 บาท
ประเทศฟิลิปปินส์ เรียกว่า เปโซ อัตราแลกเปลี่ยน 1.50 เปโซ เท่ากับ 1 บาท
ประเทศสิงคโปร์ เรียกว่า ดอลล่าร์สิงคโปร์ อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์ เท่ากับ 25 บาท
ประเทศเวียดนาม เรียกว่า ด่ง อัตราแลกเปลี่ยน 650 ด่ง เท่ากับ 1 บาท
ประเทศไทย เรียกว่า บาท อัตราแลกเปลี่ยน 1 บาท เท่ากับ 1 บาม
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยนโดยประมาณการ และอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
สมาชิกต่อไปนี้บอกขอบคุณ: Suphan Click !!
น้อย
เพิ่มเติม
- จำนวนโพสต์: 35
- ขอบคุณที่รับ: 24
10 ปี 2 เดือน ที่ผ่านมา #29
โดย ID 998
COM_KUNENA_MESSAGE_REPLIED_NEW
ใกล้เข้าสู่ประชาคมอาเซียนแล้ว
เชื่อไหมครับว่า ประชาชนคนไทยมีความสุขก่อนเข้าประชาคมอาเซียน ?
ถ้าไม่เชื่อ ลองฟังเพลงนี้ครับ ท่านจะเชื่อเหมือนผม..
เชื่อไหมครับว่า ประชาชนคนไทยมีความสุขก่อนเข้าประชาคมอาเซียน ?
ถ้าไม่เชื่อ ลองฟังเพลงนี้ครับ ท่านจะเชื่อเหมือนผม..
สมาชิกต่อไปนี้บอกขอบคุณ: Suphan Click !!
น้อย
เพิ่มเติม
- จำนวนโพสต์: 35
- ขอบคุณที่รับ: 24
10 ปี 2 เดือน ที่ผ่านมา #52
โดย ID 998
COM_KUNENA_MESSAGE_REPLIED_NEW
ข่าวอาเซียนล่าสุด
สนช.เตรียมพิจารณาตั้งสำนักวิจัยศก.อาเซียน 4 ก.ย.
การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ในวันที่ 4 ก.ย. จะมีการพิจารณาวาระเรื่องด่วน ตามที่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาร่างความตกลงเพื่อจัดตั้งสำนักงานวิจัยและเศรษฐกิจมหภาคของภูมิภาคอาเซียน พลัส3 ขณะที่ การประชุมสนช.ในวันที่ 5 ก.ย.นั้น นายพรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสนช. ได้มีคำสั่งด่วนที่สุด ให้ออกหนังสือแจ้งระเบียบวาระ ที่ สว(สนช) 0007/(น 9) เพื่อบรรจุวาระเรื่องด่วนเพิ่มเติมในการพิจารณาร่างกฎหมายจำนวน 5 ฉบับ
ทั้งนี้ ประกอบด้วย 1.ร่างพ.ร.บ.การรับขนทางอากาศระหว่างประเทศ พ.ศ. ... 2.ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดบางประการต่อการเดินอากาศ พ.ศ. ... 3.ร่างพ.ร.บ.การรับขนคนโดยสารทางถนนระหว่างประเทศ พ.ศ. ... 4.ร่างพ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่..) พ.ศ. ... และ5.ร่างพ.ร.บ.มาตราชั่งตวงวัด (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ...
อ้างอิงจาก: โพสต์ทูเดย์
ขอบคุณข้อมูลทางเวปจาก AECNEWS
สนช.เตรียมพิจารณาตั้งสำนักวิจัยศก.อาเซียน 4 ก.ย.
การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ในวันที่ 4 ก.ย. จะมีการพิจารณาวาระเรื่องด่วน ตามที่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาร่างความตกลงเพื่อจัดตั้งสำนักงานวิจัยและเศรษฐกิจมหภาคของภูมิภาคอาเซียน พลัส3 ขณะที่ การประชุมสนช.ในวันที่ 5 ก.ย.นั้น นายพรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสนช. ได้มีคำสั่งด่วนที่สุด ให้ออกหนังสือแจ้งระเบียบวาระ ที่ สว(สนช) 0007/(น 9) เพื่อบรรจุวาระเรื่องด่วนเพิ่มเติมในการพิจารณาร่างกฎหมายจำนวน 5 ฉบับ
ทั้งนี้ ประกอบด้วย 1.ร่างพ.ร.บ.การรับขนทางอากาศระหว่างประเทศ พ.ศ. ... 2.ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยความผิดบางประการต่อการเดินอากาศ พ.ศ. ... 3.ร่างพ.ร.บ.การรับขนคนโดยสารทางถนนระหว่างประเทศ พ.ศ. ... 4.ร่างพ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่..) พ.ศ. ... และ5.ร่างพ.ร.บ.มาตราชั่งตวงวัด (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ...
อ้างอิงจาก: โพสต์ทูเดย์
ขอบคุณข้อมูลทางเวปจาก AECNEWS
สมาชิกต่อไปนี้บอกขอบคุณ: Suphan Click !!
10 ปี 1 เดือน ที่ผ่านมา #114
โดย ID 999
COM_KUNENA_MESSAGE_REPLIED_NEW
โซเชี่ยลมีเดี่ย กับ อาเซียน
โซเชี่ยลมีเดีย เทคโนโลยี่ที่สิ่งจำเป็นสำหรับชาวอาเซียน ในอนาคตสิ่งที่ขาดไม่ได้เลยในการติดต่อสื่อสารสำหรับประชาชนชาวอาเซียนที่เห็นได้ง่ายๆ ประกอบด้วยการใช้สื่อที่เป็นโซเชียล คือ
1. การใช้สื่อบนอินเตอร์เน๊ต หรือโซเชี่ยลมีเดี่ย อาทิ เฟซบุ้ค เป็นต้น
2. อุปกรณ์สมาร์ทโฟน พวกแอปปริเคชั่นต่างๆ บนมือถือ เช่น ไลน์แอฟ เป็นต้น
3. โทรศัพท์ที่มีทั้งเสียงและภาพ สามารถเชื่อมต่อคุยกันได้อย่างสะดวกและปลอดภัย
สิ่งเหล่านี้จะการเป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป ดังนั้นเราต้องตามให้ทันกับวิถีการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบันและอนาคต
โซเชี่ยลมีเดีย เทคโนโลยี่ที่สิ่งจำเป็นสำหรับชาวอาเซียน ในอนาคตสิ่งที่ขาดไม่ได้เลยในการติดต่อสื่อสารสำหรับประชาชนชาวอาเซียนที่เห็นได้ง่ายๆ ประกอบด้วยการใช้สื่อที่เป็นโซเชียล คือ
1. การใช้สื่อบนอินเตอร์เน๊ต หรือโซเชี่ยลมีเดี่ย อาทิ เฟซบุ้ค เป็นต้น
2. อุปกรณ์สมาร์ทโฟน พวกแอปปริเคชั่นต่างๆ บนมือถือ เช่น ไลน์แอฟ เป็นต้น
3. โทรศัพท์ที่มีทั้งเสียงและภาพ สามารถเชื่อมต่อคุยกันได้อย่างสะดวกและปลอดภัย
สิ่งเหล่านี้จะการเป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป ดังนั้นเราต้องตามให้ทันกับวิถีการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบันและอนาคต
สมาชิกต่อไปนี้บอกขอบคุณ: Suphan Click !!
น้อย
เพิ่มเติม
- จำนวนโพสต์: 35
- ขอบคุณที่รับ: 24
10 ปี 7 ชั่วโมง ที่ผ่านมา #124
โดย ID 998
COM_KUNENA_MESSAGE_REPLIED_NEW
อัพเดทสาระช่าวสารอาเซียน
สรุปการประชุมหารือระหว่างรัฐบาลไทยกับคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนในหัวข้อเรื่องการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิแรงงานข้ามชาติในไทย[/b
(Human Rights Dialogue between the Royal Thai Government and the ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights (AICHR) on Migrant Workers)
เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557 นายมนัสวี ศรีโสดาพล รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศได้เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมหารือระหว่างรัฐบาลไทยกับคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights - AICHR) ในหัวข้อเรื่องการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ณ โรงแรม Rembrandt กรุงเทพฯ โดยมีผู้แทนระดับสูงจากหน่วยงานไทยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สภาความมั่นคงแห่งชาติ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงแห่งมนุษย์ รวมทั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เข้าร่วมการหารือ ด้วย
รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศได้กล่าวว่า ในปัจจุบัน โดยที่อาเซียนกำลังเข้าสู่ประชาคมอาเซียนซึ่งมีพลวัตรและพัฒนาการของการรวมตัว ปัญหาการเคลื่อนย้ายของคนจึงเป็นปรากฏการณ์ที่สำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่ประเทศต่าง ๆ ต้องมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจที่ต้องการแรงงานข้ามชาติ จึงทำให้ปัญหาแรงงานข้ามชาติเป็นประเด็นท้าทายร่วมกันของภูมิภาค เนื่องจากมีการเคลื่อนย้ายแรงงานทั้งภายในประเทศและแรงงานข้ามชาติอันเป็นผลมาจากปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนเพื่อเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว การเสริมสร้างความเชื่อมโยงในภูมิภาค โครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป สังคมผู้สูงอายุ และปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ
ประเทศไทยซึ่งมีทำเลที่ตั้งอยู่ในศูนย์กลางของภูมิภาคและมีชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน 4 ประเทศ ได้แก่ เมียนมาร์ กัมพูชา ลาว และมาเลเซีย มีแรงงานข้ามชาติอาศัยอยู่ในประเทศประมาณ 3 ล้านคน ซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลสำคัญที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย ที่ผ่านมา แรงงานข้ามชาติประมาณ 1.8 ล้านคนได้เข้ามาทำงานในไทโดยผ่านกระบวนการจัดส่งแรงงานระหว่างรัฐบาลภายใต้บันทึกความเข้าใจกับประเทศเพื่อนบ้าน แต่ก็ยังไม่เพียงพอกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่เติบโตอย่างรวดเร็ว ทำให้มีแรงงานจำนวนมากหลั่งไหลเข้ามาทำงานในประเทศอย่างผิดกฎหมาย ซึ่งต้องได้รับการดูแลด้านการว่าจ้างและสวัสดิการอย่างทั่วถึง รัฐบาลไทยจึงให้ความสำคัญกับการจัดการและแก้ไขปัญหาแรงงานข้ามชาติอย่างเป็นระบบและครอบคลุมทุกมิติ โดยเน้นเรื่องการจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติให้มีสถานะที่ถูกต้องตามกฎหมายเพื่อให้ได้รับการคุ้มครองสิทธิมนุษชนและเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานของไทยบนพื้นฐานและหลักมนุษยธรรม โดยรัฐบาลได้จัดตั้งศูนย์จดทะเบียนแรงงานต่างด้าว (One Stop Service Centres) ทั่วประเทศ ซึ่งรวมถึงศูนย์ประสานงานแรงงานประมง รวมทั้งผลักดันให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงของปัญหาการค้ามนุษย์และปัญหาด้านแรงงานอื่น ๆ
นอกจากนี้ รัฐบาลไทยยังดำเนินมาตรการต่าง ๆ เพื่อประกันสิทธิขั้นพื้นฐานของแรงงานข้ามชาติ เช่น การให้บริการด้านสาธารณสุข การให้คำแนะนำด้านกฎหมาย รวมถึงการจัดการศึกษาให้แก่บุตรหลานของแรงงานข้ามชาติ ซึ่งประสบการณ์ของไทยในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิแรงงานข้ามชาติดังกล่าวจะสามารถเป็นแบบอย่างสำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ ในขณะเดียวกัน อาเซียนกับ AICHR อาจร่วมกันศึกษาแนวโน้มของแรงงานข้ามชาติในอนาคต เพื่อนำไปสู่แนวทางในการแก้ปัญหาของภูมิภาค (regional approach) ต่อไปในอนาคต
ภายหลังการหารือ คณะผู้แทน AICHR ยังได้เดินทางไปเยี่ยมศูนย์จดทะเบียนแรงงานต่างด้าว โรงพยาบาลสมุทรสาคร และโรงเรียนวัดศรีสุทธาราม จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งเปิดโอกาสให้ AICHR ได้รับทราบข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดกับหน่วยงานภาคปฏิบัติของไทยในพื้นที่เกี่ยวกับการดำเนินการเพื่อให้บริการด้านสุขภาพและการศึกษาแก่แรงงานข้ามชาติและบุตรหลานโดยไม่มีการเลือกประติบัติ เช่น การประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal Healthcare Coverage) การอบรมและส่งเสริมทักษะ การเข้าถึงความช่วยเหลือทางกฎหมาย และการคุ้มครองสวัสดิการอื่น ๆ รวมทั้งการเสริมสร้างความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนที่ใกล้ชิดระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติ
การจัดกิจกรรมดังกล่าวนับเป็นครั้งแรกที่รัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดการหารือกับ AICHR โดยกำหนดหัวข้อเพื่อร่วมกันแก้ไขประเด็นสิทธิมนุษยชนเฉพาะด้าน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงบทบาทที่สำคัญของไทยในการขับเคลื่อนประเด็นสิทธิมนุษยชนในภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง
*******************************
10 พ.ย. 2557 14:15:29
ขอบคูณแหล่งข้อมูลจาก www.mfa.go.th/asean/th/news/2352/51162-ส...ลไทยกับคณะกรรมาธิการ
สรุปการประชุมหารือระหว่างรัฐบาลไทยกับคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนในหัวข้อเรื่องการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิแรงงานข้ามชาติในไทย[/b
(Human Rights Dialogue between the Royal Thai Government and the ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights (AICHR) on Migrant Workers)
เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2557 นายมนัสวี ศรีโสดาพล รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศได้เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมหารือระหว่างรัฐบาลไทยกับคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights - AICHR) ในหัวข้อเรื่องการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ณ โรงแรม Rembrandt กรุงเทพฯ โดยมีผู้แทนระดับสูงจากหน่วยงานไทยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สภาความมั่นคงแห่งชาติ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงแห่งมนุษย์ รวมทั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เข้าร่วมการหารือ ด้วย
รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศได้กล่าวว่า ในปัจจุบัน โดยที่อาเซียนกำลังเข้าสู่ประชาคมอาเซียนซึ่งมีพลวัตรและพัฒนาการของการรวมตัว ปัญหาการเคลื่อนย้ายของคนจึงเป็นปรากฏการณ์ที่สำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่ประเทศต่าง ๆ ต้องมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจที่ต้องการแรงงานข้ามชาติ จึงทำให้ปัญหาแรงงานข้ามชาติเป็นประเด็นท้าทายร่วมกันของภูมิภาค เนื่องจากมีการเคลื่อนย้ายแรงงานทั้งภายในประเทศและแรงงานข้ามชาติอันเป็นผลมาจากปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนเพื่อเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว การเสริมสร้างความเชื่อมโยงในภูมิภาค โครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป สังคมผู้สูงอายุ และปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ
ประเทศไทยซึ่งมีทำเลที่ตั้งอยู่ในศูนย์กลางของภูมิภาคและมีชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน 4 ประเทศ ได้แก่ เมียนมาร์ กัมพูชา ลาว และมาเลเซีย มีแรงงานข้ามชาติอาศัยอยู่ในประเทศประมาณ 3 ล้านคน ซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลสำคัญที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย ที่ผ่านมา แรงงานข้ามชาติประมาณ 1.8 ล้านคนได้เข้ามาทำงานในไทโดยผ่านกระบวนการจัดส่งแรงงานระหว่างรัฐบาลภายใต้บันทึกความเข้าใจกับประเทศเพื่อนบ้าน แต่ก็ยังไม่เพียงพอกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่เติบโตอย่างรวดเร็ว ทำให้มีแรงงานจำนวนมากหลั่งไหลเข้ามาทำงานในประเทศอย่างผิดกฎหมาย ซึ่งต้องได้รับการดูแลด้านการว่าจ้างและสวัสดิการอย่างทั่วถึง รัฐบาลไทยจึงให้ความสำคัญกับการจัดการและแก้ไขปัญหาแรงงานข้ามชาติอย่างเป็นระบบและครอบคลุมทุกมิติ โดยเน้นเรื่องการจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติให้มีสถานะที่ถูกต้องตามกฎหมายเพื่อให้ได้รับการคุ้มครองสิทธิมนุษชนและเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานของไทยบนพื้นฐานและหลักมนุษยธรรม โดยรัฐบาลได้จัดตั้งศูนย์จดทะเบียนแรงงานต่างด้าว (One Stop Service Centres) ทั่วประเทศ ซึ่งรวมถึงศูนย์ประสานงานแรงงานประมง รวมทั้งผลักดันให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเพื่อลดความเสี่ยงของปัญหาการค้ามนุษย์และปัญหาด้านแรงงานอื่น ๆ
นอกจากนี้ รัฐบาลไทยยังดำเนินมาตรการต่าง ๆ เพื่อประกันสิทธิขั้นพื้นฐานของแรงงานข้ามชาติ เช่น การให้บริการด้านสาธารณสุข การให้คำแนะนำด้านกฎหมาย รวมถึงการจัดการศึกษาให้แก่บุตรหลานของแรงงานข้ามชาติ ซึ่งประสบการณ์ของไทยในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิแรงงานข้ามชาติดังกล่าวจะสามารถเป็นแบบอย่างสำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น ๆ ในขณะเดียวกัน อาเซียนกับ AICHR อาจร่วมกันศึกษาแนวโน้มของแรงงานข้ามชาติในอนาคต เพื่อนำไปสู่แนวทางในการแก้ปัญหาของภูมิภาค (regional approach) ต่อไปในอนาคต
ภายหลังการหารือ คณะผู้แทน AICHR ยังได้เดินทางไปเยี่ยมศูนย์จดทะเบียนแรงงานต่างด้าว โรงพยาบาลสมุทรสาคร และโรงเรียนวัดศรีสุทธาราม จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งเปิดโอกาสให้ AICHR ได้รับทราบข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดกับหน่วยงานภาคปฏิบัติของไทยในพื้นที่เกี่ยวกับการดำเนินการเพื่อให้บริการด้านสุขภาพและการศึกษาแก่แรงงานข้ามชาติและบุตรหลานโดยไม่มีการเลือกประติบัติ เช่น การประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Universal Healthcare Coverage) การอบรมและส่งเสริมทักษะ การเข้าถึงความช่วยเหลือทางกฎหมาย และการคุ้มครองสวัสดิการอื่น ๆ รวมทั้งการเสริมสร้างความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนที่ใกล้ชิดระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับแรงงานข้ามชาติ
การจัดกิจกรรมดังกล่าวนับเป็นครั้งแรกที่รัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดการหารือกับ AICHR โดยกำหนดหัวข้อเพื่อร่วมกันแก้ไขประเด็นสิทธิมนุษยชนเฉพาะด้าน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงบทบาทที่สำคัญของไทยในการขับเคลื่อนประเด็นสิทธิมนุษยชนในภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง
*******************************
10 พ.ย. 2557 14:15:29
ขอบคูณแหล่งข้อมูลจาก www.mfa.go.th/asean/th/news/2352/51162-ส...ลไทยกับคณะกรรมาธิการ
การเข้าถึงฟอรั่ม
- อนุญาตให้: การสร้างหัวข้อใหม่
- อนุญาตให้: ตอบ
- ไม่อนุญาต: to add Images.
- ไม่อนุญาต: to add Files.
- ไม่อนุญาต: การแก้ไขข้อความของคุณ
เวลาที่ใช้ในการสร้างหน้าเว็บ: 2.266 วินาที